วันพฤหัสบดี, 21 พฤศจิกายน 2024

กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก (วิทยาศาสตร์ ม.2)

Wishlist Share
Share Course
Page Link
Share On Social Media

About Course

 

 

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับการแยกสารและการนำไปใช้ โดยวิธีการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่น โครมาโทกราฟี การสกัดด้วยตัวทำละลาย โครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง              ทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ดิน ชั้นดินและหน้าตัดดิน  แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน  ภัยธรรมชาติจากน้ำท่วม แผ่นดินถล่ม และการกัดเซาะชายฝั่ง  หลุมยุบและแผ่นดินทรุด แหล่งพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์      และพลังงานทดแทน งานและกำลัง เครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่ คาน ลิ่ม รอก  ล้อและเพลา สกรู และพื้นเอียง  พลังงานกล กฎการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์                   และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด         ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้        ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตัวชี้วัด  ว 3.2 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

  1. อธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอนได้
  2. ยกตัวอย่างผลของกระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอนที่ทำให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง
  3. อธิบายภูมิลักษณ์ที่สำคัญของขังหวัดลำปางได้

Course Content

บทที่ 1 การผุพังอยู่กับที่

  • การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพ
    05:36
  • การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี
    05:53
  • การผุพังอยู่กับที่

บทที่ 2 การกร่อน การพัดพา และการสะสมทับถมตัว

บทที่ 3 ภูมิลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดลำปาง

Student Ratings & Reviews

No Review Yet
No Review Yet